ให้ราชภัฏจัดตั้งศูนย์สอบภาษาอังกฤษ
ประชุมหารือกับอธิการบดี มรภ.เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและรัฐบาลคือ ต้องการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตร เพราะที่ผ่านมาระบบการศึกษาไทยได้มีแนวคิดในการนำกรอบมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาจากประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป หรือ CEFR (Common European Framework of Reference for Languages) มาใช้เป็นกรอบการประเมินความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษกว่า 10 ปีที่ผ่านมา แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จ
รวมทั้งในปัจจุบันทั่วโลกได้นำระบบการสอบ IELTS หรือไอเอลส์ (International English Language Testing System) ซึ่งเป็นระบบการวัดความสามารถทางภาษาอังกฤษที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดกว่า 2 ล้านคนใน 135 ประเทศทั่วโลก มาใช้ในการประเมินมาตรฐานภาษาอังกฤษของผู้เรียน เพื่อเข้าทำงาน ใช้เพื่อจบการศึกษา การขอวีซ่า ฯลฯ เพราะระบบดังกล่าวมีมาตรฐานในการประเมินความรู้ทักษะทั้ง 4 ส่วน คือ การฟัง (Listening) การอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) และ
นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายให้บัณฑิตทุกสาขาที่จบออกไป มีความรู้พื้นฐานและสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ จึงมีแนวคิดจะให้มีการจัดสอบความรู้ทักษะภาษาอังกฤษในระดับปริญญาตรี โดยอาจจะเริ่มแจ้งให้นักศึกษาทราบตั้งแต่เรียนชั้นปีที่ 1-2 เพื่อให้มีการเตรียมตัวสอบล่วงหน้า และนำผลสอบไปกำหนดไว้ใน Transcript ของผู้เรียน แต่ไม่ใช่เป็นเกรด (Grade) ตัดสินผลการเรียน ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ก็เป็นการเปิดเผยข้อมูลธรรมดาๆ ต่อนายจ้างในการสมัครงาน เพราะประเทศไทยช้ามากในเรื่องภาษาอังกฤษ ในขณะที่การใช้ภาษาอังกฤษเป็นความจำเป็นของประเทศต่างๆ ทั่วโลก แม้แต่บริษัท SCG ของไทย ก็จะเริ่มใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักในปี พ.ศ.2561 จึงมีความจำเป็นต้องใช้กรอบมาตรฐานเป็นตัวขับ
ดังนั้น จึงได้หารือเรื่องนี้ เพื่อต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ด้วยภารกิจดังกล่าว ยิ่งจะทำให้มหาวิทยาลัยต่างๆ รวมทั้งกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ เกิดการแข่งขันคุณภาพกันมากขึ้นด้วย ซึ่งที่ประชุมก็เห็นพ้องกับนโยบายนี้ และรับว่าหากประกาศนโยบายนี้ออกมา
ทั้งนี้
รมช.ศึกษาธิการ กล่าวว่า ปัจจุบันหากดูตัวเลขบัญชีรายจ่ายในการพัฒนาประเทศ จะมีงบพัฒนาครูเพียง 1% ดังนั้นแม้จะมีโครงการที่วิเศษสุดเพียงใด ก็ยังไม่สามารถใช้งบประมาณที่มีอยู่เพียง 1% ไปพัฒนาครู 5 แสนกว่าคนได้อย่างเพียงพอ ในขณะที่ครูแต่ละคนจะอยู่ในระบบราชการประมาณ 37 ปี (หากบรรจุแต่งตั้งอายุ 23 ปี) ดังนั้นการพัฒนาครูจึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้ครูปรับเปลี่ยนวิธีสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรและบริบทที่เปลี่ยนแปลงไป
หลักคิดที่ดีที่สุดของการบริหารงานบุคคล คือ การสรรหาครูที่เก่งและดีเข้ามาในระบบ ซึ่งต่อไปเราจะมีครูที่เกษียณอายุราชการกว่า 2 แสนคน แต่เมื่อเด็กลดลงจะต้องการครูใหม่เข้ามาในระบบประมาณ 1.6 แสนคน แต่กว่าโครงการคุรุทายาทจะผลิตเสร็จ
ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏจะเป็นหลักในการปฏิรูปครูได้ดีที่สุด ทั้งในแง่การผลิตครูตามโครงการคุรุทายาทจำนวน 3 หมื่นกว่ารายใน 6 ปีข้างหน้า และการพัฒนาครูใหม่ที่ควรจะต้องมีการทดสอบอย่างต่อเนื่องและเป็นการวางรากฐานที่มาตรฐานให้กับครูอย่างจริงจัง
นอกจากนี้ การที่จะให้ครูไม่ต้องโยกย้ายบ่อยๆ จึงมีแนวทางให้ครูได้อยู่ในพื้นที่นั้นนานๆ หรือเท่ากับเป็นการให้ครูเลือกเขตพื้นที่เอง จึงเห็นว่าควรมีการทดสอบ โดยให้มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นศูนย์สอบเพื่อยกระดับมาตรฐานครูใหม่ โดยกำหนดมาตรฐานของการสอบเป็น 3 ภาค คือ ข้อสอบวิชาเฉพาะ ข้อสอบวิชาชีพครู และการสัมภาษณ์ เช่น ครูไปสอบวิทยาศาสตร์ภาค ก–ข แล้วเก็บผลสอบไว้ จากนั้นสามารถนำคะแนนไปยื่นเพื่อสมัครสอบภาค ค ในแต่ละเขตพื้นที่ที่ต้องการได้ ซึ่งขอให้มหาวิทยาลัยราชภัฏไปพิจารณาแนวทางการจัดสอบเพื่อยกระดับครูใหม่ต่อไป
ที่ประชุมได้หารือถึงประเด็นปัญหาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยต่างๆ ซึ่งเห็นว่าทั้งมหาวิทยาลัยและ
นอกจากนี้
สรุป/รายงาน
14/11/2558